logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • บทความ
  • คณิตศาสตร์
  • คณิตศาสตร์กับสัญลักษณ์

คณิตศาสตร์กับสัญลักษณ์

โดย :
เมขลิน อมรรัตน์
เมื่อ :
วันพุธ, 17 มิถุนายน 2563
Hits
12906

        สิ่งที่เราทุกคนที่เคยเรียนวิชาคณิตศาสตร์และคุ้นเคยเป็นอย่างดีก็คือ สัญลักษณ์ (symbolic) แต่ผู้เขียนกำลังกล่าวถึงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งในบทความนี้ผู้อ่านจะได้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะโดยธรรมชาติของคณิตศาสตร์เกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น ติดตามอ่านกันได้เลย

11331
ภาพเครื่องคิดเลขที่ปรากฏสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์อยู่บนเครื่อง
ที่มา https://pixabay.com/ , cheskapoon

        มนุษย์ยอมรับและใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ มีวิวัฒนาการไม่แตกต่างอะไรกับความรู้หรือทฤษฎีต่าง ๆ ที่กำเนิดขึ้นตามกาลเวลา ตั้งแต่สมัยชาวอียิปต์โบราณที่ใช้สัญลักษณ์เป็นอักษรภาพ ต่อมาชาวบาบิโรเนียได้พัฒนาสัญลักษณ์มาเป็นรูปทรง จนถึงช่วงของชาวโรมันและชาวฮินดู-อาหรับที่พัฒนาสัญลักษณ์มาเป็นตัวอักษร จนเป็นที่ยอมรับกันมาใช้งานจนเป็นความคุ้นเคย

คณิตศาสตร์กับสัญลักษณ์

          มนุษย์ใช้ความคิดสร้างสรรค์การใช้สัญลักษณ์เพื่อสร้างการจดจำและความเข้าใจ ดังจะเห็นได้จากภาพเขียนสีโบราณตามผนังถ้ำ และเวลาต่อมาสัญลักษณ์และภาพเหล่านั้นก็เปลี่ยนแปลงไปเป็นภาษาเขียนต่างๆที่ใช้กันในปัจจุบัน สัญลักษณ์เหล่านี้ถูกจดจำจนเป็นความคุ้นเคยโดยอัตโนมัติ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเราเขียนตัวเลข 3  เราจะรู้ทันทีว่าสัญลักษณ์นี้คือ จำนวนสาม  แต่ในความเป็นจริงแล้วเราไม่เคยเห็น จำนวนสามเลยด้วยซ้ำ เพราะมันไม่มีอยู่จริง เป็นเพียงตัวเลขในจินตนาการเท่านั้น แต่สังเกตไหมว่า การใช้ประโยชน์จากการใช้สัญลักษณ์นี้ทำให้เราสามารถดึงสิ่งที่เป็นนามธรรมหรือจินตนาการออกมาเป็นรูปธรรมให้เห็นว่ามีอยู่จริงได้ และนี่คือความสัมพันธ์อันน่าถึงเกี่ยวกับการใช้สัญลักษณ์ในทางคณิตศาสตร์ มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง

  1. คณิตศาสตร์ใช้สัญลักษณ์ในการบอกลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ในรูปแบบการบอกจำนวน ขนาด อันดับ เป็นต้น ทำให้เราสามารถมองเห็นสิ่งสิ่งนั้นได้เป็นรูปธรรมและชัดเจนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้มากขึ้น ตัวอย่างเช่น เราบอกลักษณะของชายคนหนึ่งด้วยตัวเลข ว่า “ชายคนนั้นสูงประมาณ 170 เมตร และอายุประมาณ 35 ปี”

  2. คณิตศาสตร์ใช้สัญลักษณ์บอกความสัมพันธ์ ความเปลี่ยนแปลง หรือปฏิกิริยา เช่น มักจะบอกว่าสิ่งของบางสิ่งใหญ่กว่าบางสิ่ง เช่น ถังใบหนึ่งจุน้ำได้เป็นห้าเท่าของอีกใบหนึ่ง ด้วยสัญลักษณ์ V = 5v

  3. คณิตศาสตร์ใช้สัญลักษณ์เพื่อแทนสิ่งเดียวกันหรือรูปสัญลักษณ์ที่ยุ่งยากกว่าให้ดูง่ายและชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น เราจะแทนนิพจน์ 3x3x3x3x3x3x3 ด้วยสัญลักษณ์ 37  หรือแทนนิพจน์ 3x3x3 ด้วยสัญลักษณ์ 27 หรือ 3x3x3 = 27

  4. คณิตศาสตร์ใช้สัญลักษณ์แทนกลุ่มของสิ่งเพื่อแสดงความหมายเชิงทั่วไป หรือแสดงคุณสมบัติ เช่น การบวกมีสมบัติการสลับที่ หมายความว่าเราสามารถสลับเปลี่ยนจำนวนที่อยู่ข้างซ้ายและขวาของเครื่องหมายบวกได้ โดยผลลัพธ์ยังคงเดิม สมมติให้ a และ b เป็นจำนวนสองจำนวนใดๆ แล้ว a + b = b + a จะเห็นได้ว่า เราใช้สัญลักษณ์ a และ b แทนจำนวนใด ๆ ก็ได้เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเกี่ยวกับคุณสมบัติการสลับที่ของการบวก

          คณิตศาสตร์อาจเป็นสิ่งที่เป็นนามธรรมและเข้าใจยาก แต่ในขณะเดียวกันเราก็มีสัญลักษณ์ที่ช่วยสร้างการสื่อสารและทำความเข้าใจเรื่องง่ายให้เป็นเรื่องยาก อีกทั้งยังเป็นภาษาแบบหนึ่งที่เป็นสากลอีกด้วย เพราะไม่ว่าคุณจะเป็นชนชาติไหน ภาษาสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ก็จะเป็นที่เข้าใจได้ของทุกคน

แหล่งที่มา

สัญลักษณ์ของความทะเยอทะยาน สัญลักษณ์และสัญลักษณ์คณิตศาสตร์พื้นฐาน. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563. จาก https://my-kross.ru/th/lekarstva/znak-stremleniya-osnovnye-matematicheskie-znaki-i-simvoly/

ผู้ช่วยศสตราจารย์ ดร. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ. วิธีการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์.สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563. จาก http://math.sc.su.ac.th/web3/textbooks/Chawewan/math_proofs.pdf

จริยา นวลนิรันดร์. คณิตศาสตร์ไทยโบราณ มุมมองทางญาณวิทยาในศตวรรษที่ 19. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563. จาก https://www.rsu.ac.th/jla/public/upload/journal/article/abstract/20160630EPSW06.pdf

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์,คณิตศาสตร์
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันศุกร์, 20 มีนาคม 2563
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เมขลิน อมรรัตน์
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
คณิตศาสตร์
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 11331 คณิตศาสตร์กับสัญลักษณ์ /article-mathematics/item/11331-2020-03-06-07-37-31
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
รู้จักกับนักวิทย์-คณิต จากทุกมุมโลก ตอน ตอนที่ 11 Thales
รู้จักกับนักวิทย์-คณิต จากทุกมุมโลก ตอน ...
Hits ฮิต (13303)
ให้คะแนน
ผลงานประวัติศาสตร์ในอดีตเรื่องหนึ่ง ที่เป็น คำบอกเล่าและถ่ายทอดต่อกันมา โดยหาผลงานต้นฉบับไม่ได้ ผลง ...
คณิตศาสตร์นอกตำรา: ระบบเลขฐานสิบในตลาดนัดโคกระบือ (กรณีศึกษา ...
คณิตศาสตร์นอกตำรา: ระบบเลขฐานสิบในตลาดนั...
Hits ฮิต (22097)
ให้คะแนน
คณิตศาสตร์นอกตำรา: ระบบเลขฐานสิบในตลาดนัดโคกระบือ (กรณีศึกษา) นายปรีชากร ภาชนะ ตำแหน่ง ครู คศ. 1 ตล ...
สามเหลี่ยมครอบครัวคณิตศาสตร์การบวก
สามเหลี่ยมครอบครัวคณิตศาสตร์การบวก
Hits ฮิต (12047)
ให้คะแนน
ครอบครัวสามเหลี่ยมคณิตศาสตร์ คือ ครอบครัวคณิตศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ประกอบด้วย ครอบคร ...

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)