logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาโครงงาน

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • โครงงาน
  • การทำเต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์

การทำเต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายสิทธิสุนทร สุโพธิณะ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์จารุมาลย์ จิตรังษี, อาจารย์สุมนทิพย์ บุนนาค, อาจารย์วรรณา ปักษีเลิศ, อาจารย์น้อย เนียมสา, อาจารย์ศักดิ์สิน สมอุ่มจารย์
สถาบันการศึกษา
แก่นนครวิทยาลัย
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การทำเต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์ รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

โครงงานนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำเต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์ สารตกตะกอนที่เหมาะสมคือ แมกนีเซียมคอลไรด์ (MgCl2) ในการทดลองใช้ความเข้มข้น 40% โดยมวล/ปริมาตร ปริมาตรที่เติมเหมาะสมคือ 12 cm3 โดยได้น้ำหนักเต้าหู้เฉลี่ย 58.33 กรัม ส่วนการทำเต้าหู้จากถั่วเหลืองที่ใช้เปรียบเทียบนั้น ใช้เกลือแมกนีเซียมซัลเฟต ซึ่งเป็นสารที่เหมาะสมในการตกตะกอนที่ความเข้มข้น 40% โดยมวล/ปริมาตร จำนวน 12 cm3 เท่ากัน ได้เต้าหู้ 138.03 กรัม และได้น้ำหนักเต้าหู้ 147.7 กรัม เมื่อใช้สารตกตะกอนจำนวน 16 cm3 ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนในเมล็ดกระถินยักษ์ ถั่วเหลือง เต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์ และเต้าหู้จากถั่วเหลือง มีปริมาณโปรตีนเป็นกรัมต่ออาหารแห้ง 100 กรัม คือ 16.69 , 29.81 , 6.88 และ 13.44 กรัมตามลำดับ สำหรับเต้าหู้ที่ได้ยังมีลักษณะไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากได้ปริมาณน้อย ค่อนขางเหลวและมีความยืดหยุ่นน้อย

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
เต้าหู้,เมล็ด,กระถินยักษ์
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
แก่นนครวิทยาลัย
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายสิทธิสุนทร สุโพธิณะ
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6640 การทำเต้าหู้จากเมล็ดกระถินยักษ์ /project-biology/item/6640-2016-09-09-03-52-04-6640
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การตอบสนองของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากแผ่นดินชนิดที่มีสภาพนำไฟฟ้า ...
การตอบสนองของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากแผ่นดิน...
Hits ฮิต (68923)
ให้คะแนน
งานวิจัยชิ้นนี้ได้เสนอวิธีการทางคณิตศาสตร์เพื่อศึกษาสนามไฟฟ้าที่ตอบสนองจากแผ่นดินที่มีสภาพนำไฟฟ้าวิ ...
ระบบควบคุมการให้บริการ พิมพ์เอกสารอัตโนมัติโดยบัตรชี้เฉพาะด้ ...
ระบบควบคุมการให้บริการ พิมพ์เอกสารอัตโนม...
Hits ฮิต (64354)
ให้คะแนน
ระบบควบคุมการให้บริการพิมพ์เอกสารอัตโนมัติโดยบัตรชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ พัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา ...
ระบบต้นแบบสำหรับสร้างวงดนตรีมโหรีไทย เวอร์ชั่น2 A Prototype  ...
ระบบต้นแบบสำหรับสร้างวงดนตรีมโหรีไทย เวอ...
Hits ฮิต (68298)
ให้คะแนน
เนื่องจากปัจจุบันมีเพียงคนกลุ่มน้อยเท่านั้นที่ยังให้ความสนใจกับเรื่องของดนตรีไทย ซึ่งถือได้ว่าเป็นเ ...

ค้นหาโครงงาน

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)