logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • โครงงาน
  • การศึกษาการแตกตัวของ MEH-PPV Aggregates ในสารละลายด้วยวิธีสเปกโตรสโกปี: ผลของตัวทำละลาย, ความเข้มข้น และ อุณหภู

การศึกษาการแตกตัวของ MEH-PPV Aggregates ในสารละลายด้วยวิธีสเปกโตรสโกปี: ผลของตัวทำละลาย, ความเข้มข้น และ อุณหภู

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นงลักษณ์ หวงกำแหง, สรรยา จันทร์พุฒ, นิภาภัทร เจริญไทย*, รักชาติ ไตรผล
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
-
สถาบันการศึกษา
Department of Chemistry, Faculty of Science, Naresuan University
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
มัธยมปลาย
หมวดวิชา
เคมี
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
การศึกษาการแตกตัวของ MEH-PPV Aggregates ในสารละลายด้วยวิธีสเ ... รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาพฤติกรรมการแตกตัวและการเข้าจับกันของ poly-2-methoxy-5-(2-ethylhexyloxy)-1,4phenylenevinylene(MEH-PPV) ในตัวทำละลายชนิดต่างๆ เช่น แอลกอฮอล์ และตัวทำละลายคู่ผสม จากการศึกษาโดยใช้วิธีวัดสมบัติการดูดกลืนแสงและการคายแสงของสารละลายที่อุณหภูมิต่างๆ พบว่า MEH-PPV ในตัวทำละลายแต่ละชนิดมีพฤติกรรมการแตกตัวและการเข้ามาจับตัวกันที่แตกต่างกัน ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและความเป็นขั้วของตัวทำละลายที่ใช้ การเพิ่มอุณหภูมิมีผลทำให้เกิดการแยกออกจากกันของ MEH-PPV aggregates ซึ่งสังเกตได้จากการลดลงของของความเข้มของพีคการดูดกลืนแสงและการคายแสงที่ตำแหน่ง 550 nm และ 590 nm ตามลำดับ การใช้ตัวทำละลายแอลกอฮอล์ที่มีความเป็นขั้วสูงเช่น บิวทานอล จะส่งผลทำให้สายโซ่โมเลกุลเดี่ยวเกิดการหดตัวอย่างมาก ซึ่งการหดตัวนี้จะขัดขวางการเข้าซ้อนทับกันของสายโซ่หลักทำให้เกิด aggregates ได้ยาก เมื่อทำการลดความเป็นขั้วของตัวทำละลายแอลกอฮอล์อย่างเป็นระบบ จะสังเกตพบการเข้าซ้อนทับกันเกิดเป็น aggregates ได้ง่ายขึ้นคาดว่าเกิดจากการคลายตัวของสายโซ่โมเลกุลเดี่ยวที่มากขึ้นนั่นเอง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของตัวทำละลายก็มีผลต่อการเกิด aggregates เช่นกัน โดยที่ในตัวทำละลายผสมระหว่างโทลูอีนกับไซโคลเฮกเซนสามารถเกิด aggregates ได้ค่อนข้างง่ายกว่าเมื่อเทียบกับระบบของตัวทำละลายผสมระหว่างไพริดีนกับไซโคลเฮกเซน คาดว่าน่าจะเป็นผลมาจากลักษณะรูปร่างของสายโซ่โมเลกุลเดี่ยวที่แตกต่างกันเช่นเดียวกัน ส่วนการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารละลายไม่มีผลต่อพฤติกรรมการแตกตัวและการเข้าจับกันของ aggretaes มากนัก

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ศึกษา,แตกตัว,MEH,PPV,Aggregates,สารละลาย,วิธีสเปกโตรสโกปี,เข้มข้น
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
Department of Chemistry, Faculty of Science, Naresuan University
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นงลักษณ์ หวงกำแหง, สรรยา จันทร์พุฒ, นิภาภัทร เจริญไทย*, รักชาติ ไตรผล
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6283 การศึกษาการแตกตัวของ MEH-PPV Aggregates ในสารละลายด้วยวิธีสเปกโตรสโกปี: ผลของตัวทำละลาย, ความเข้มข้น และ อุณหภู /project-chemistry/item/6283-meh-ppv-aggregates
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    Average rating
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากรากหางนกยูงไทย (Caesalpinea pulc ...
การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากรากหางนกยูงไ...
Hits ฮิต (68282)
ให้คะแนน
จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของส่วนสกัดหยาบไดคลอโรมีเทนจากรากหางนกยูงไทย(Caesalpinea pulcherrima) ด ...
รอยทางของล้อหลังรถจักรยาน
รอยทางของล้อหลังรถจักรยาน
Hits ฮิต (66080)
ให้คะแนน
ในงานวิจัยชิ้นนี้ ได้กล่าวถึง การเขียนแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อทำการหาค่าเส้นการ เคลื่อนที่ของล้อ ...
CYCLE WITH A CHORD
CYCLE WITH A CHORD
Hits ฮิต (73922)
ให้คะแนน
ในปัจจุบันนี้ทฤษฎีความสัมพันธ์ของ Dynamic Survey of Graph Labeling มากกว่า 300 แบบ แต่ส่วนใหญ่จะศึก ...
ค้นหาโครงงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. Privacy. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)