logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • Ebook อื่นๆ
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
    • คู่มือครู
    • คู่มือการใช้หลักสูตร
    • ชุดสื่อ 60 พรรษา
    • หนังสือเรียน
    • E-Books อื่นๆ
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาโครงงาน

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • โครงงาน
  • ตาจับสี (Color Eye)

ตาจับสี (Color Eye)

ชื่อผู้ทำโครงงาน
นาย ทัศน์จิต หวังไพบูรย์กิจ , นาย วรท อนุศักดิ์ประสิทธิ์ , นาย รัฐพล อาภาธร
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. พิษณุ คนองชัยยศ
สถาบันการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รางวัลที่ได้รับ
-
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
อื่นๆ
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
ตาจับสี (Color Eye) รูปภาพ 1
บทคัดย่อ

ในปัจจุบัน มีผู้คนจำนวนมากที่ต้องเผชิญกับปัญหาทางด้านการมองเห็น บางคนไม่สามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่ไกลๆ ได้ บางคนมีปัญหาในการอ่านหนังสือที่มีตัวอักษรขนาดเล็ก ปัญหาเหล่านี้เรียกว่า สายตาสั้น หรือสายตายาว เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ด้วยการสวมใส่แว่นตาหรือใช้เลนส์สำหรับช่วยในการมองเห็น อย่างไรก็ตาม หากสายตาได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง สร้างความเสียหายต่อดวงตาจนไม่สามารถมองเห็นได้ หรือที่เรียกกันว่า ตาบอด กรณีเช่นนี้นอกจากการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะแล้วก็ไม่สามารถทำการรักษาด้วยวิธีทางการแพทย์ในปัจจุบันได้เลย ปัญหาหนึ่งที่พบมากเนื่องจากการที่มองไม่เห็น คือการแยกแยะสี ซึ่งเป็นปัญหาของผู้ที่ตาบอดหรือตาบอดสี โครงการตาจับสีของเราจึงได้ทำการริเริ่มออกแบบและพัฒนาเพื่อที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหาดังกล่าว สำหรับวัตถุประสงค์หลักของโครงการนี้ก็คือ การออกแบบเครื่องมือที่มีราคาถูกเพื่อให้ผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านสายตาสามารถใช้ในการแยกแยะสีในชีวิตประจำวันได้ ประกอบกับในปัจจุบันโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย มีความสามารถในการทำงานหลายอย่าง และมีราคาที่ไม่สูงจนเกินไปนัก เราจึงได้ตัดสินใจที่จะพัฒนาโปรแกรมที่ช่วยในการวิเคราะห์สีลงบนอุปกรณ์เหล่านั้น ด้วยเหตุนี้ ผู้ใช้จะสามารถใช้อุปกรณ์ที่ตนเองมีอยู่สำหรับอำนวยความสะดวกให้ตนเอง โดยที่ไม่จำเป็นต้องหาซื้ออุปกรณ์อื่นๆ เพิ่มเติม และถือเป็นการใช้อุปกรณ์ที่ตนเองมีอยู่ให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุดอีกด้วย

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ตาจับ,สี,Color Eye
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
โครงงาน
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันที่เสร็จ
วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นาย ทัศน์จิต หวังไพบูรย์กิจ , นาย วรท อนุศักดิ์ประสิทธิ์ , นาย รัฐพล อาภาธร
ระดับชั้น
ม.4
ม.5
ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
  • 6587 ตาจับสี (Color Eye) /project-other/item/6587-color-eye-6587
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
    • Share
    • Tweet
    • Share

คุณอาจจะสนใจ
การตอบสนองของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากแผ่นดินชนิดที่มีสภาพนำไฟฟ้า ...
การตอบสนองของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากแผ่นดิน...
Hits ฮิต (68923)
ให้คะแนน
งานวิจัยชิ้นนี้ได้เสนอวิธีการทางคณิตศาสตร์เพื่อศึกษาสนามไฟฟ้าที่ตอบสนองจากแผ่นดินที่มีสภาพนำไฟฟ้าวิ ...
ระบบควบคุมการให้บริการ พิมพ์เอกสารอัตโนมัติโดยบัตรชี้เฉพาะด้ ...
ระบบควบคุมการให้บริการ พิมพ์เอกสารอัตโนม...
Hits ฮิต (64354)
ให้คะแนน
ระบบควบคุมการให้บริการพิมพ์เอกสารอัตโนมัติโดยบัตรชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ พัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา ...
ระบบต้นแบบสำหรับสร้างวงดนตรีมโหรีไทย เวอร์ชั่น2 A Prototype  ...
ระบบต้นแบบสำหรับสร้างวงดนตรีมโหรีไทย เวอ...
Hits ฮิต (68298)
ให้คะแนน
เนื่องจากปัจจุบันมีเพียงคนกลุ่มน้อยเท่านั้นที่ยังให้ความสนใจกับเรื่องของดนตรีไทย ซึ่งถือได้ว่าเป็นเ ...

ค้นหาโครงงาน

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
หมวดวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • โครงงานทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • คอมพิวเตอร์
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
  • คำถามที่พบบ่อย
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. Terms and Conditions. , All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)